วันพุธ, มีนาคม 17, 2564
วัดพระธาตุศรีจอมทอง จ.เชียงใหม่
วัดพระธาตุศรีจอมทอง จ.เชียงใหม่ เป็นพระบรมธาตุส่วนพระเศียรเบื้องขวาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่แตกต่างจากพระบรมธาตุอื่นๆในล้านนา คือ ไม่ได้บรรจุลงใต้ดินแต่บรรจุอยู่ในกู่ภายในวิหารซึ่งสามารถอัญเชิญออกมาสรงน้ำได้
วันเสาร์, กุมภาพันธ์ 13, 2564
โรคระบาด ในสยาม อหิวาตกโรค พ.ศ. ๒๓๖๐ – ๒๓๖๗
อหิวาตกโรค (Cholera) ในอดีตเรียกว่า “โรคป่วงใหญ่” หรือ “โรคลงราก”
เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ผู้ป่วยจะมีอาการท้องร่วง อุจาระเป็นน้ำ และอาเจียนเป็นหลัก เรียกว่า "ลงราก" จึงเรียกโรคนี้ว่า "โรคลงราก" ทำให้เกิดอาการท้องร่วงและอาเจียนอย่างรุนแรง จนผู้ป่วยขาดน้ำและเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว มีพาหะคือแมลงวัน และการแพร่เชื้อเกิดขึ้นจากการดื่มน้ำ หรือกินอาหารที่ปนเปื้อน
วันศุกร์, กุมภาพันธ์ 12, 2564
สิมอีสาน สิมน้ำ สิมบก
โบสถ์ ในภาษาอีสาน เรียกว่า สิม มาจากคำว่า สีมา หรือ เสมา
เพลงค่าน้ำนม
วันจันทร์, กุมภาพันธ์ 01, 2564
วันอาทิตย์, มกราคม 24, 2564
S-21 หรือ Security Office 21 คืออะไร
S-21 หรือ Security Office 21 คือสถานที่แห่งหนึ่ง ในประเทศกัมพูชา เดิม เป็นโรงเรียนมัธยม ที่มีชื่อว่า Tuol Svay Pray (ได้รับการตั้งชื่อตามบรรพบุรุษของพระบาทสมเด็จพระนโรดมสีหนุ )
วันอังคาร, มกราคม 05, 2564
ฮูกมปากัต คืออะไร ?
ฮูกมปากัต คือ มาตรการทางสังคม ยุติธรรมทางเลือก
ฮูกมปากัต แปลว่า "กฎสังคม" หรือ "กฎของชุมชน" มีใช้กันอยู่แล้วในพื้นที่ชายแดนใต้ เฉพาะคนอิสลาม โดยกฎที่ว่านี้มาจากชุมชนเอง ได้รับความเห็นชอบจาก "เสาหลักชุมชน 4 ฝ่าย" คือ ผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำท้องที่ และผู้นำทางธรรมชาติ เรียกว่า "ผู้นำ 4 เสาหลัก"
วันอังคาร, ธันวาคม 15, 2563
โครงการนอนสามัคคี และ โครงการนอนส่องแสง คืออะไร ?
โครงการนอนสามัคคี & โครงการนอนส่องแสง ยุคคอมมิวนิสต์ปลดปล่อยอินโดจีน
โครงการนอนสามัคคี คือ โครงการเพื่อ "การกลืนชาติ" กล่าวคือ เวียดนามต้องการกลืนชาติ เขมร ลาว ไทย และประเทศอื่นๆ ตามลำดับ ทั้งนี้ เพื่อเชื้อชาติญวนจะได้มีมากที่สุดในอินโดจีนและในแหลมทอง และในที่สุดญวนหรือเวียดนาม ก็จะมีอิทธิพลยึดครอง
วันพฤหัสบดี, ธันวาคม 10, 2563
กงเกวียนกําเกวียน
เกวียน เป็นพาหนะที่คนไทยในสมัยก่อนนิยมใช้เป็นพาหนะ กงเกวียน คือ วงรอบของล้อเกวียน ส่วน กําเกวียน คือ ซี่ล้อ ซึ่งตรงกลางมีดุมที่มีรูสําหรับสอดเพลาเป็นแกนยึดล้อ ๒ ข้าง เมื่อกงเกวียนหมุนไปทางใด กําเกวียนก็หมุนตามไปทางนั้น
วันเสาร์, ธันวาคม 05, 2563
5 ธันวาคม น้อมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณ หาที่สุดมิได้
พระราชประวัติของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระนามเดิมว่า “พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช” พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ โรงพยาบาลเมานท์ออเบอร์น รัฐเมสสาชูเขตต์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7
วันพฤหัสบดี, ธันวาคม 03, 2563
พระไภษัชยคุรุ พระพุทธเจ้าแพทย์ ผู้ปัดเป่าโรคภัยร้าย
พระไภษัชยคุรุ เป็นหนึ่งในพระพุทธเจ้า ตามความเชื่อในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายาน นิกายวัชรยาน หรือพุทธตันตระ ซึ่งมีผู้นิยมนับถือมากที่สุดองค์หนึ่งในประเทศจีนและธิเบต นับถือกันว่าทรงเป็น “พระพุทธเจ้าแพทย์” ผู้ปัดเป่าโรคภัยร้าย เนื่องจากเมื่อพระองค์เสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ และทรงตั้งปณิธานว่า เมื่อพระองค์ทรงบรรลุพระโพธิญาณแล้ว เหล่าสัตว์ที่ทนทุกข์ทรมานด้วยโรคภัยใดๆ
วันอังคาร, ธันวาคม 01, 2563
ผ้ายกเมืองนคร พัสตราภรณ์ โขนพระราชทาน
วันศุกร์, พฤศจิกายน 27, 2563
สวะสังคม Loser เหยียดสังคม ชังชาติ อันธพาลทางความคิด
วันเสาร์, พฤศจิกายน 21, 2563
หนักเกินไปแล้ว ฟางเส้นสุดท้าย ที่มันหนัก ??!!
"หนักเกินไปแล้ว เกินจะแบก แบกมันไว้จนเต็มบ่า รับเธอเข้ามา เธอกลับเหมือนฟางเส้นสุดท้าย ที่มันหนัก"
ชื่อเรื่องแปลกๆ ใช่มั้ยล่ะ ? ประโยคนี้ เชื่อว่า หากใครที่ฟังเพลงในยุค 90' นั้น น้อยมากที่จะไม่รู้ว่า ประโยคนี้มาจากเพลงอะไร ? "หนักเกินไปแล้ว เกินจะแบก แบกมันไว้จนเต็มบ่า รับเธอเข้ามา เธอกลับเหมือนฟางเส้นสุดท้าย ที่มันหนัก" ใช่ครับ
วันจันทร์, พฤศจิกายน 02, 2563
ป้ายกำกับ / Tag labels
- ประวัติศาสตร์
- ประเทศไทย
- เรื่องเก่า
- การศึกษา
- จีน
- บุคคล
- ท่องเที่ยว
- วัด
- สยาม
- กรุงเทพฯ
- วิทยาศาสตร์
- กล้องถ่ายภาพ
- ศาสนา
- อินเดีย
- Diarymisc
- คอมมิวนิสต์
- วิหาร
- ในหลวงรัชกาลที่ 9
- กรุงศรีอยุธยา
- จอมพล ป. พิบูลสงคราม
- นราธิวาส
- พระเจ้าตากสินมหาราช
- มุมไบ
- วิทยุ
- สำนวน
- หนังสือ
- หนังแท้
- อเมริกา
- เกี่ยวกับสัตว์
- เขมร
- เพลง
- เยาวราช
- โรงเรียน
- Social media
- deep state
- กรรม
- กลาโหม
- ชายแดนใต้
- ทวิตเตอร์
- นางใน
- บุหรี่
- บ่อน
- พระราชกรณียกิจ
- ภาคอีสาน
- มุสลิม
- รถเมล์
- ระเบิด
- รามเกียรติ์
- ลาว
- ศิลปาชีพ
- สถานีรถไฟ
- สวิตเซอร์แลนด์
- สังคม
- สเปน
- อีสาน
- เดนมาร์ก
- เพชรบุรี
- เหรียญ
- แต่งงาน
- โขน
- โบราณวัตถุ
- โบสถ์
- โรคระบาด
- ไกลกังวล

Popular Posts
-
ภาพที่ปรากฎนี้ คือ รูปปั้น "อินทรชิตดูดนมนางมณโฑ " เป็น ประติมากรรม บน ถนนสายปูนปั้น แห่งเดียวและแห่งแรกของประเทศ โดยโครงการ...
-
สวรรค์ในความเชื่อของไทย ในพุทธศาสนามี ๖ ชั้น คือ จาตุมหาราชิกา ,ดาวดึงส์ ,ยามา ,ดุสิต ,นิมมานรดี ,ปรนิมมิตวสวัตดี "สวรรค์ชั้น 7" อ...
-
การุณยฆาต คืออะไร การุณยฆาต หรือ Euthanasia คือ การทำให้เสียชีวิตอย่างสงบ ยุติชีวิตของผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามเจตนารมณ์ของผู้ป่วย หรือต...
-
โครงการนอนสามัคคี & โครงการนอนส่องแสง ยุคคอมมิวนิสต์ปลดปล่อยอินโดจีน โครงการนอนสามัคคี คือ โครงการเพื่อ "การกลืนชาติ" ...
-
( แนะนำหนังสือ ) อั้ยชิง เจี่ยวหรอ ฟู่อี้ จักรพรรดิสู่ สามัญชน เราต่างเข้าใจกันว่า ราชวงศ์ชิง สิ้นสลายแล้วไปพร้อมกับการสิ้นพระชนม์ ของพ...

ราชบัลลังก์พม่า วาระสุดท้ายแห่งระบบกษัตริย์ !!
เรื่องราวประวัติศาสตร์พม่า สมัยพระเจ้ามินดง จนถึงวาระสุดท้ายของระบอบกษัตริย์ในสมัยพระเจ้าธีบอ อ่านแล้วทำให้เราได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์ของพม่า รูปแบบการปกครอง ยิ่งในบทที่บรรยายถึงความโหดร้ายของพระเจ้าธีบอและพระนางศุภยาลัต ความเหี้ยมโหดของการสังหารเชื้อพระวงศ์ด้วยกัน เพียงเพื่อต้องการบัลลังก์
หนังสือ "ราชบัลลังก์พม่า วาระสุดท้ายแห่งระบบกษัตริย์" เล่มนี้ เขียนโดย ศาสตราจารย์พิเศษเสฐียร ผู้เขียนยังได้เสนอมุมมองอันหลากหลาย ผ่านการวิเคราะห์ให้เห็นถึงปัญหาของพม่าในยุคเวลานั้น โดยเฉพาะการฉายภาพเรื่องอำนาจวาสนา กิเลสตัณา และความมักใหญ่ใฝ่สูงของคนในช่วงเวลาดังกล่าว อันกลายเป็นปฐมเหตุแห่งการสูญเสียเอกราชของพม่าแก่อังกฤษ
ตอน 1 ความเบื้องต้น
ตอน 2 สร้างกรุงมัณฑะเลย์
ตอน 3 พระที่นั่ง มเหสี และเสนาบดี
ตอน 4 เจ้าชายธีบอและฝรั่งในราชสำนัก
ตอน 5 พระเจ้ามินดงกับอังกฤษ
ตอน 6 มินดงสร้างมหากุศล
ตอน 7 กบฏวังหลวง
ตอน 8 ชิงราชบัลลังก์
ตอน 9 มินดงสวรรคต, ธีบอครองราชย์
ตอน 10 การประหารครั้งยิ่งใหญ่
ฯลฯ

