ค้นหาบทความ 🙄





6/01/65

เขมรเคยเป็นเมืองขึ้นของไทย ขอมไม่ใช่เขมร ตอนที่ ๓

“ ไทยลอกแบบมาจากเขมรหรือเขมรลอกไปจากไทย ” ตอนที่ ๓ เขมรเป็นเมืองขึ้นของไทยมาตั้งแต่อยุธยาถึงรัตนโกสินทร์  | โดย อัษฎางค์ ยมนาค

นครวัด ตั้งอยู่ในเมืองพระนคร ถูกสร้างในรัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2


นครวัด ตั้งอยู่ในเมืองพระนคร ถูกสร้างในรัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๒ ซึ่งเป็นยุคที่ขอมพระนครเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด 

  • ต่อมาเมื่อพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราดร่วมมือกับพ่อขุนบางกลางหาว ก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัยขึ้นนั้น เป็นยุคที่พระเจ้าชัยวรมันที่ ๘ ปกครองนครวัด ที่เมืองพระนคร แต่หลังจากสิ้นรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๘ อาณาจักรเขมรเสื่อมอำนาจลง
  • ต่อมาในสมัยพระเจ้าอู่ทองแห่งกรุงศรีอยุธยา อาณาจักรขอมพระนครก็ถูกกองทัพกรุงศรีอยุธยา ที่นำโดยขุนหลวงพระงั่วซึ่งเป็นพี่เมียของพระเจ้าอู่ทองยกทัพโจมตียึดเป็นเมืองขึ้น

  • ต่อมาภายหลังขุนหลวงพระงั่ว ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์จากราชวงศ์สุพรรณภูมิ ก็ขึ้นครองอยุธยาต่อจากราชวงศ์อู่ทอง
ในรัชสมัยสมเด็จสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒
    หรือเจ้าสามพระยา พระมหากษัตริย์ราชวงศ์สุพรรณภูมิ ซึ่งเป็นรัชกาลที่ ๗ แห่งอาณาจักรอยุธยา ก็ส่งกองทัพไปบุกอาณาจักรขอมพระนคร จนล่มสลายอย่างสิ้นเชิง นับแต่นั้นมาเขมรก็ไม่สามารถฟื้นฟูอาณาจักรให้กลับมายิ่งใหญ่อีกเลย ... 

เมื่อปี พ.ศ.๑๙๓๖ อาณาจักรเขมรแข็งเมือง

    ทำให้สมเด็จพระราเมศวร กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาส่งกองทัพ ไปยึดเมืองพระนครเมืองหลวงของเขมรได้อีกครั้ง .. 
การที่กองทัพสยามตีเมืองพระนคร(นครวัด)แตก ทำให้เขมรสิ้นอาณาจักร และอยู่ในการปกครองของไทยเรื่อยมาตั้งแต่สมัย อยุธยา กรุงธนบุรี ถึงกรุงรัตนโกสินทร์
เป็นเรื่องจริง ที่ขอมพระนคร (นครวัด) เคยเป็นอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่มาก่อนจะเกิดกรุงสุโขทัย และกรุงศรีอยุธยา และไทยในสมัยโบราณ เคยได้รับอิทธิพล ทั้งศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีสถาปัตยกรรมและภาษา มาจากขอมพระนคร 

แต่ ขอมละโว้ ซึ่งเป็นต้นตระกูลไทย และเป็นอาณาจักรที่ดำรงอยู่ในช่วงเวลาใกล้เคียงกับขอมพระนครนั้น ต่อมาในภายหลัง ขอมละโว้ได้ร่วมกับสุพรรณภูมิสร้างกรุงศรีอยุธยาขึ้นมาจนยิ่งใหญ่ และสามารถโค่นขอมพระนคร (นครวัด)ลงได้สำเร็จ   ทำให้เขมรตกเป็นเมืองขึ้นของไทยนับตั้งแต่อยุธยาจนถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ กี่ร้อยปี ลองนับกันดู ... 



อย่างนี้ยังจะมีใครคิดว่า ไทยในปัจจุบันลอกเลียนแบบศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและสถาปัตยกรรมมากจากเขมรอีกหรือ ! 

  • เหมือนอินเดีย สิงคโปร์เป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ อินโดนีเซียเป็นเมืองขึ้นของเนเธอร์แลนด์ ฟิลิปปินส์เป็นเมืองขึ้นของสเปนและอเมริกา ใครรับศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและสถาปัตยกรรม มาจากใคร ? 
  • ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและสถาปัตยกรรมของอังกฤษรับมากจากอินเดียและสิงคโปร์ เนเธอร์แลนด์รับมาจากอินโดนีเซีย สเปนและอเมริการับมาจากฟิลิปปินส์ หรือไม่ ?

  • ชาวมองโกเลียก็เคยยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกในยุคเจงกิสข่าน เคยปกครองดินแดนค่อนโลก กุบไลข่านหลานของเจงกิสข่านก่อตั้งราชวงศ์หยวน ยึดครองและปกครองจีนต่อเนื่องหลายรัชกาล สามารถเคลมว่า ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีสถาปัตยกรรม และภาษาของจีนนั้นลอกเลียนแบบมาจากมองโกเลียได้หรือไม่ ?  
ทำไมคนไทยที่ขังชาติ ถึงบอกว่า ความเป็นไทยนั้นลอกเลียนแบบมาจากเขมร ???

     มันต้องเป็นเขมรต่างหาก รับศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและสถาปัตยกรรมไปจากไทย มิใช่หรือ ?? 
อย่าลืมว่า เขมรปัจจุบันไม่ใช่ขอมพระนครผู้สร้างนครวัด เพราะขอมพระนคร ผู้สร้างนครวัด ซึ่งเคยเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดนั้น มีอยู่เมื่อก่อนที่จะมีกรุงสุโขทัย หรือประมาณพันปีที่แล้ว 

แต่เขมรยุคหลัง ตกเป็นเมืองขึ้นของไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เขมรยุคหลังไม่มีความรุ่งเรืองของขอมพระนครผู้สร้างนครวัดหลงเหลืออยู่แต่อย่างใด

ยังมีประวัติศาสตร์ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มาตอกย้ำอีกครั้งว่า เขมรรับศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและสถาปัตยกรรมไปจากไทยเต็มๆ



โปรดติดตามตอนต่อไป จาก ป้ายกำกับนี้ คลิ๊ก >> ขอมไม่ใช่เขมร

หมายเหตุ

บทความ “ไทยลอกแบบมาจากเขมรหรือเขมรลอกไปจากไทย”

เกิดจากคนไทยชังชาติสร้างข้อมูลเท็จหรือบิดเบือนขึ้นมา มิใช่เรื่องที่เกิดจากชาวกัมพูชาซึ่งเป็นเพื่อนบ้านที่ดี และไม่เคยคิดร้ายในแง่ลบกับไทย บทความนี้มีจุดประสงค์สำคัญ เพื่อเสนอความจริง เพื่อลบล้างข้อมูลยุยง ปลุกปั่นของคนไทยชังชาติบางกลุ่มที่ต้องการทำให้ความสัมพันธ์ไทยและกัมพูชา ร้าวฉาน

โดย อัษฎางค์ ยมนาค

 
หนังสือขอมโบราณ แนะนำ 


"ขอม" เป็นชนชาติที่ยิ่งใหญ่ที่สุดชนชาติหนึ่ง ในภูมิภาคอุษาคเนย์  

    รวบรวมเรื่องราวของชนชาติขอม ด้านประวัติศาสตร์ความเป็นมา ช่วงรัชสมัยต่างๆ ทั้งอารยธรรมที่ขอมได้ฝากไว้ กระทั่งสงครามหรืออิทธิพลที่ขอมมีต่อไทย เพื่อให้ผู้สนใจศึกษาประวัติศาสตร์ขอมได้เห็นภาพรวมตามลำดับเวลา เพื่อให้ง่ายต่อการอ่านพร้อมบันทึกของยอดนักบันทึกโจวต้ากวน เหมาะสำหรับผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องราวขอมไม่มากนัก หรือไม่มีพื้นฐานเลย

   


Admin Bee

สนับสนุน Misc.Today

นี่คือ ลิ้งค์พันธมิตร หรือที่เรียกว่า affiliate link ซึ่งหมายความว่า... หากคุณคลิ๊กลิ้งค์นี้ และซื้อผลิตภัณฑ์ อะไรก็ได้ ฉันจะได้ค่าคอมมิชชั่นเล็กน้อย สิ่งนี้จะช่วยสนับสนุนเว็บไซด์ และช่วยให้กำลังใจเราต่อไป


  ชาหมักคอมบูชะ Scoby doit  


 






 

คุณอาจสนใจ

5 บทความ ยอดนิยม ในรอบ 30 วัน

🟡 โพสต์แนะนำ

คริสเตียนไซออนนิสท์ คือใคร ? - Christian Zionist

ช่วงนี้ ผมติดตามหาข้อมูลเกี่ยวกับ อิสราเอล กับ ปาเลสไตน์ ครับ ส่วนใหญ่จะเป็นแนวประวัติศาสตร์เสียมาก เพราะผมมีความเชื่อส่วนตัวว่า การที่เราจะ...

Popular Posts

แนะนำหนังสือ


  BOOKs OF THE DAY








ผู้สนับสนุน







Xiaomi Kingsmith Walking Pad

 Xiaomi Kingsmith Walking Pad R1 Pro/ R2 ลู่เดิน/วิ่งไฟฟ้า พับเก็บได้ สำหรับการออกกำลังกายภายในบ้าน >> คลิ๊กดูเพิ่มอีก


ป้ายกำกับ / Tag labels

2475 (1) กฎหมาย (5) กฐิน (2) กรรม (5) กระเป๋า (3) กรุงเทพฯ (19) กรุงศรีอยุธยา (12) กล้องถ่ายภาพ (7) กลอน (4) กลาโหม (9) การเกษตร (7) การจัดเก็บ (3) การปกครอง (1) การเมือง (55) การศึกษา (131) กิจกรรมกลางแจ้ง (2) กีฬา (3) เกษตร (3) เกี่ยวกับสัตว์ (15) ไกลกังวล (1) ขงจื้อ (1) ขนม (2) ขอมไม่ใช่เขมร (6) ข้าว (3) ข่าวสาร (22) ขิง (1) เขมร (10) โขน (2) คณะราษฎร (11) คติธรรม (1) คนเล่านิทาน (15) ครัว (1) ครู (6) ความเชื่อ (12) ความรู้ (159) คอมมิวนิสต์ (34) คำภีร์ (2) คำสอน (11) เครื่องบิน (7) เงินตรา (4) จอมพล ป. พิบูล (1) จอมพล ป. พิบูลสงคราม (13) จีน (53) ช้าง (1) ชายแดนใต้ (5) ญี่ปุ่น (15) ดนตรีไทย (1) ดอกไม้ (1) เด็ก (5) เดนมาร์ก (1) ต้นไม้ (4) ตลาดนัด (1) ตำรวจ (2) เตา (1) เตือนภัย (17) แต่งงาน (1) ทรัพยากร (2) ทวิตเตอร์ (1) ทหาร (9) ท่องเที่ยว (28) ทะเล (3) ทัศนะ (51) ทำบุญ (5) ทำอาหาร (4) เทคโนโลยี (13) โทรศัพท์มือถือ (2) ธนบัตร (1) ธนาคาร (4) ธรณี (1) ธรรมชาติ (10) ธรรมในคำกลอน (1) ธรรมะ (6) ธรรมาธิปไตย (2) ธุรกิจ (10) นราธิวาส (3) นวดไทย (1) นักบิน (1) นักเรียน (4) นางใน (1) นาซี (1) นายกรัฐมนตรี (3) น้ำมัน (1) นิทานพื้นบ้าน (1) นิยาย (3) นิวเคลียร์ (1) เนปาล (1) แนะนำสินค้า (38) โนรา (1) ในหลวง ร.10 (1) ในหลวงรัชกาลที่ 9 (15) บริการ (3) บริหาร (3) บ่อน (1) บัตรเครดิต (2) บัตรประชาชน (1) บุคคล (42) บุญ (3) บุหรี่ (1) เบตง (1) แบรนด์ไทย (5) โบราณวัตถุ (13) โบราณสถาน (7) โบสถ์ (2) ประชาธิปไตย (54) ประท้วง (7) ประเทศไทย (178) ประธานาธิบดี (1) ประวัติศาสตร์ (150) ปรัชญาชีวิต (21) ปรีดี (2) ปลูกต้นไม้ (3) ปูติน (1) ผลไม้ (2) ผลิต (3) ผัก (1) ผิวสี (1) แผ่นดินไหว (1) ฝรั่งเศส (6) พม่า (6) พยาบาล (1) พระเจ้าตากสินมหาราช (2) พระนเรศ (1) พระพุฒาจารย์ (1) พระพุทธเจ้า (1) พระราชกรณียกิจ (4) พระสงฆ์ (10) พราหมณ์ (1) พิบูลสวัสดี (1) พิพิธภัณฑ์ (9) พุทธทาส (1) พุทธศาสนา (11) เพชรบุรี (3) เพลง (8) เพลงผ้า ปรพากย์ (1) แพทย์ (4) ฟาโรห์ (1) ไฟ (4) ไฟฉาย (1) ไฟฟ้า (1) ภัยพิบัติ (1) ภาคใต้ (6) ภาคอีสาน (1) ภาษา (10) ภาษิต (1) ภูเขาไฟ (1) ภูมิปัญญา (19) ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ (1) มวยไทย (5) มาเลเซีย (1) มุมไบ (2) มุสลิม (2) แม่ (1) ไม้ไผ่ (1) ยา (1) ยิว (3) ยูนนาน (1) เยาวชน (1) เยาวราช (1) รถเมล์ (3) รองเท้า (2) ระเบิด (3) รัชกาลที่ ๒ (1) รัชกาลที่ ๔ (3) รัชกาลที่ ๕ (7) รัชกาลที่ ๖ (1) รัชกาลที่7 (8) รัชกาลที่ ๘ (6) รัฐประหาร (7) รัสเซีย (12) ราชาศัพท์ (1) รามเกียรติ์ (1) เรือ (2) เรื่องเก่า (81) เรื่องเล่า (23) โรค (5) โรคระบาด (4) โรงงาน (1) โรงพยาบาล (10) โรงเรียน (16) โรฮิงญา (1) ลอนดอน (1) ละคร (1) ลัทธิ (2) ลัทธิมาร์กซ์ (3) ล้านนา (3) ลาว (4) ลิง (1) เลือกตั้ง (9) โลก (5) โลกร้อน (3) วัฒนธรรม (2) วัด (14) วันแม่ (1) วันสำคัญ (5) วิทยาศาสตร์ (9) วิทยุ (2) วิหาร (4) เวียดนาม (4) ไวรัล (1) ศัพท์ (1) ศาสนา (36) ศิริราช (5) ศิลปะ (5) ศิลปาชีพ (1) เศรษฐกิจ (3) สงขลา (1) สงคราม (50) สถานีรถไฟ (1) สนามบิน (2) สเปน (1) สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร (2) สมัยเมจิ (1) สยาม (13) สวนสนุก (1) สวิตเซอร์แลนด์ (2) สังคม (38) สำนวน (8) สิ่งประดิษฐ์ (13) สื่อ (3) สุขภาพ (13) สุภาพจิต (6) สุสาน (1) หนังแท้ (4) หนังสือ (31) หนังสือพิมพ์ (1) หนู (1) ห้องเรียน (4) เหมาเจ๋อตง (2) เหรียญ (1) อเมริกา (37) ออสเตรีย (1) อังกฤษ (6) อาชีพ (1) อาหาร (15) อาหารจานโปรด (8) อิตาลี (3) อินเดีย (8) อิสราเอล (3) อียิปต์ (1) อีสาน (1) แอปพลิเคชัน (4) ไอร์แลนด์ (1) cpr (1) deep state (1) democracy (1) Diarymisc (3) facebook (1) handmade (1) leather (1) marxism (1) metaverse (1) nomad (6) Nuclear (1) OPENUP (1) powerbank (1) shopee (1) Social media (2) social views (114) startup (1) UNESCO (4) xiaomi (1)


Miscellaneous | Misc.Today 🌱 . ขับเคลื่อนโดย Blogger.

 
miscthailand