ค้นหาบทความ 🙄





1/20/66

ฟุคุซาว่า ยูคิจิ ผู้ปฏิรูปการศึกษาญี่ปุ่น บุรุษบนธนบัตร 10,000 เยน

"ความเท่าเทียม"  ของการศึกษา ที่ทุกคนควรได้รับมัน แล้วจะช่วยลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำได้ สมัยนั้นถือว่าเป็นแนวความคิดที่ก้าวหน้าและล้ำมาก คือหนึ่งในวาทะสำคัญที่ Fukuzawa Yukichi ที่พยายามมุ่งเน้นเรื่องปฏิรูปการศึกษาใน ญี่ปุ่น

ฟุคุซาว่า ยูคิจิ ผู้ปฏิรูปการศึกษาญี่ปุ่น บุรุษบนธนบัตร 10,000 เยน






สุภาพบุรุษบนธนบัตร 10,000 เยน คือ Fukuzawa Yukichi
(  福澤 諭吉, January ๑๐,  ๑๘๓๕ – February ๓, ๑๙๐๑ )
   
     ชีวิตในวัยเด็กของ Fukuzawa Yukichi เกิดในครอบครัวซามูไรชั้นต่ำที่ยากจน เขาอาศัยอยู่ในโอซาก้า ซึ่งเป็นศูนย์กลางการค้าหลักของประเทศญี่ปุ่นในขณะนั้น

      ญี่ปุ่น ได้เปิดท่าเรือใหม่ สามแห่ง ที่ จังหวัดคานากาว่า สำหรับเรือสินค้าของอเมริกันและยุโรป คือจุดเริ่มต้นที่ทำให้ ฟุกุซาวะ ซึ่งสนใจในอารยธรรมตะวันตก เขาเดินทางไปที่ คานากาว่า เพื่อไปชมท่าเรือทั้งสามแห่ง  เมื่อไปถึงเขาพบว่า เหล่าพ่อค้าชาวยุโรปที่นั่น เกิอบทั้งหมด พูดสื่อสารกันโดยใช้ ภาษาอังกฤษ มากกว่าภาษาดัตช์  !!!  เขาก็เริ่มเรียนภาษาอังกฤษ ตั้งแต่บัดนั้น 


ผู้ก่อตั้ง Keio University

 Fukuzawa Yukichi
เป็นนักการศึกษา นักปรัชญา นักเขียน ผู้ประกอบการ และซามูไรชาวญี่ปุ่น ผู้ก่อตั้ง Keio University, หนังสือพิมพ์ Jiji-Shinpō และ Institute for Study of Infectious Diseases  ฟุคุซาว่า เป็นผู้ที่นำระบบการศึกษาแบบตะวันตก และวิทยาการแบบใหม่ ๆ จากประเทศพัฒนา ต่าง ๆ เข้ามาเผยแพร่ในประเทศญี่ปุ่น อาทิ ระบบการใช้ธนาคาร รวมถึง การก่อตั้งสถาบันการศึกษา และ นอกจากนี้เขายังเป็นผู้เขียนตำราเรียน  และสร้าง แนวคิด ปฏิรูปเมจิ นำญี่ปุ่นสู่ประเทศสมัยใหม่ ไปจนถึงผู้ก่อตั้ง มหาวิทยาลัยเคโอ Keio University ( 慶應義塾大学 )  มหาวิทยาลัยเอกชนชื่อดังและเก่าแก่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น อีกด้วย

Keio University in May 1912

Keio University in May 1912


ข้อมูลเพิ่มเติม /อ้างอิง


บุคคลสำคัญ บนธนบัตรญี่ปุ่น

บุคคลสำคัญ บนธนบัตรญี่ปุ่น

สุภาพสตรีบนธนบัตร 5,000 เยน คือ ฮิกุจิ อิจิโยะ (Higuchi Ichiyo)

      เธอเป็นนักกวีหญิงคนแรกในยุคเมจิ ในวัย 14 ปี เธอได้เข้าเรียนที่โรงเรียนนักประพันธ์ ฮากิโนยะ และเธอได้มีผลงานชิ้นแรกเมื่ออายุ 19 ปี นั่นคือการเขียนบันทึกประจำวันของเธอจนถึงวันสุดท้ายของชีวิตในอีก 5 ปีให้หลัง แต่ระหว่างนั้นเธอก็ได้ผลิตผลงานเรื่องสั้นและอื่น ๆ จนกระทั่งเสียชีวิตในวัย 24 ปี


บุคคลสำคัญ บนธนบัตรญี่ปุ่น

สุภาพบุรุษบนธนบัตร 1,000 เยน คือ โนงุจิ ฮิเดโยะ (Noguchi Hideyo) 
(野口英世, Noguchi Hideyo , 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2419 - 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2471)

         โนงุจิ ฮิเดโยะ เป็นผู้ที่สามารถเพาะเชื้อก่อโรคซิฟิลิสจนสำเร็จ และยังมีความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษ เยอรมัน และฝรั่งเศส  เคยถูกส่งไปทำงานที่ด่านกักกันโรค ที่เมืองโยโกฮามะและได้ตรวจพบเชื้อกาฬโรคในเลือดของผู้ป่วย ทำให้เขาเริ่มมีชื่อเสียง  จากผลงานนี้ เขาจึงได้รับเลือกให้เป็น 1 ในคณะแพทย์จากนานาประเทศ เดินทางไปยับยั้งกาฬโรคที่กำลังระบาดหนักที่ประเทศจีนนั่นเอง 
 


Admin Bee

สนับสนุน Misc.Today

นี่คือ ลิ้งค์พันธมิตร หรือที่เรียกว่า affiliate link ซึ่งหมายความว่า... หากคุณคลิ๊กลิ้งค์นี้ และซื้อผลิตภัณฑ์ อะไรก็ได้ ฉันจะได้ค่าคอมมิชชั่นเล็กน้อย สิ่งนี้จะช่วยสนับสนุนเว็บไซด์ และช่วยให้กำลังใจเราต่อไป



 

คุณอาจสนใจ

เครื่องดื่มมหัศจรรย์ เพื่อสุขภาพที่ดี


  ชาหมักคอมบูชะ Scoby doit  



“ จุลินทรีย์ โพรไบโอติก ที่มีอยู่ในชาหมัก คอมบูชะ ( Kombucha ) สามารถแก้ไขปัญหาของระบบทางเดินอาหาร และลำไส้”

KOMBUCHA ORIGINAL 101 / by Scoby Do it 💖
    เครื่องดื่มชาหมักเพื่อสุขภาพ คอมบูชา หรือ คอมบูชะ ( Kombucha ) Scoby do it คือ เครื่องดื่มที่ผ่านกระบวนการหมัก มีสรรพคุณทางยา โดยมี “จุลินทรีย์ โพรไบโอติก Probiotics” ที่เป็นพระเอกของเครื่องดื่มชนิดนี้ “จุลินทรีย์” ที่อยู่ในชาหมักที่เกิดจากการหมักชา จะมี สารฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) ช่วยต้านอนุมูลอิสระ และอาจช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด เบาหวาน มะเร็ง และโรคอัลไซเมอร์ได้ 

   >> ดูเพิ่มเติม 




5 บทความ ยอดนิยม ในรอบ 30 วัน

🟡 โพสต์แนะนำ

คริสเตียนไซออนนิสท์ คือใคร ? - Christian Zionist

ช่วงนี้ ผมติดตามหาข้อมูลเกี่ยวกับ อิสราเอล กับ ปาเลสไตน์ ครับ ส่วนใหญ่จะเป็นแนวประวัติศาสตร์เสียมาก เพราะผมมีความเชื่อส่วนตัวว่า การที่เราจะ...

Popular Posts

แนะนำหนังสือ


  BOOKs OF THE DAY








ผู้สนับสนุน







Xiaomi Kingsmith Walking Pad

 Xiaomi Kingsmith Walking Pad R1 Pro/ R2 ลู่เดิน/วิ่งไฟฟ้า พับเก็บได้ สำหรับการออกกำลังกายภายในบ้าน >> คลิ๊กดูเพิ่มอีก


ป้ายกำกับ / Tag labels

2475 (1) กฎหมาย (4) กฐิน (2) กรรม (5) กระเป๋า (3) กรุงเทพฯ (19) กรุงศรีอยุธยา (11) กล้องถ่ายภาพ (7) กลอน (4) กลาโหม (9) การเกษตร (6) การจัดเก็บ (2) การเมือง (48) การศึกษา (127) กิจกรรมกลางแจ้ง (2) กีฬา (3) เกษตร (2) เกี่ยวกับสัตว์ (12) ไกลกังวล (1) ขงจื้อ (1) ขนม (2) ขอมไม่ใช่เขมร (6) ข้าว (3) ข่าวสาร (22) ขิง (1) เขมร (10) โขน (2) คณะราษฎร (10) คติธรรม (1) คนเล่านิทาน (14) ครู (6) ความเชื่อ (11) ความรู้ (145) คอมมิวนิสต์ (31) คำภีร์ (2) คำสอน (11) เครื่องบิน (7) เงินตรา (4) จอมพล ป. พิบูล (1) จอมพล ป. พิบูลสงคราม (13) จีน (53) ช้าง (1) ชายแดนใต้ (5) ญี่ปุ่น (15) ดนตรีไทย (1) ดอกไม้ (1) เด็ก (5) เดนมาร์ก (1) ต้นไม้ (4) ตลาดนัด (1) ตำรวจ (2) เตา (1) เตือนภัย (15) แต่งงาน (1) ทรัพยากร (2) ทวิตเตอร์ (1) ทหาร (9) ท่องเที่ยว (27) ทะเล (3) ทัศนะ (47) ทำบุญ (5) ทำอาหาร (5) เทคโนโลยี (13) โทรศัพท์มือถือ (2) ธนบัตร (1) ธนาคาร (4) ธรรมชาติ (7) ธรรมในคำกลอน (1) ธรรมะ (6) ธรรมาธิปไตย (2) ธุรกิจ (10) นราธิวาส (3) นวดไทย (1) นักบิน (1) นักเรียน (4) นางใน (1) นาซี (1) นายกรัฐมนตรี (2) น้ำมัน (1) นิทานพื้นบ้าน (1) นิยาย (3) นิวเคลียร์ (1) เนปาล (1) แนะนำสินค้า (36) โนรา (1) ในหลวง ร.10 (1) ในหลวงรัชกาลที่ 9 (15) บริการ (3) บริหาร (3) บ่อน (1) บัตรเครดิต (2) บัตรประชาชน (1) บุคคล (42) บุญ (3) บุหรี่ (1) เบตง (1) แบรนด์ไทย (5) โบราณวัตถุ (13) โบราณสถาน (6) โบสถ์ (2) ประชาธิปไตย (51) ประท้วง (7) ประเทศไทย (172) ประวัติศาสตร์ (147) ปรัชญาชีวิต (20) ปรีดี (2) ปลูกต้นไม้ (3) ปูติน (1) ผลไม้ (1) ผลิต (3) ผิวสี (1) แผ่นดินไหว (1) ฝรั่งเศส (6) พม่า (6) พยาบาล (1) พระเจ้าตากสินมหาราช (2) พระนเรศ (1) พระพุฒาจารย์ (1) พระพุทธเจ้า (1) พระราชกรณียกิจ (4) พระสงฆ์ (10) พราหมณ์ (1) พิบูลสวัสดี (1) พิพิธภัณฑ์ (9) พุทธทาส (1) พุทธศาสนา (11) เพชรบุรี (3) เพลง (8) เพลงผ้า ปรพากย์ (1) แพทย์ (4) ฟาโรห์ (1) ไฟ (4) ไฟฉาย (1) ไฟฟ้า (1) ภาคใต้ (6) ภาคอีสาน (1) ภาษา (9) ภาษิต (1) ภูเขาไฟ (1) ภูมิปัญญา (19) ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ (1) มวยไทย (5) มาเลเซีย (1) มุมไบ (2) มุสลิม (2) แม่ (1) ไม้ไผ่ (1) ยา (1) ยิว (3) ยูนนาน (1) เยาวชน (1) เยาวราช (1) รถเมล์ (3) รองเท้า (2) ระเบิด (3) รัชกาลที่ ๒ (1) รัชกาลที่ ๔ (3) รัชกาลที่ ๕ (7) รัชกาลที่ ๖ (1) รัชกาลที่7 (8) รัชกาลที่ ๘ (5) รัฐประหาร (6) รัสเซีย (12) ราชาศัพท์ (1) รามเกียรติ์ (1) เรือ (2) เรื่องเก่า (80) เรื่องเล่า (23) โรค (5) โรคระบาด (3) โรงงาน (1) โรงพยาบาล (9) โรงเรียน (16) โรฮิงญา (1) ลอนดอน (1) ลัทธิ (2) ลัทธิมาร์กซ์ (1) ล้านนา (3) ลาว (4) เลือกตั้ง (9) โลก (5) โลกร้อน (3) วัฒนธรรม (1) วัด (14) วันแม่ (1) วันสำคัญ (5) วิทยาศาสตร์ (9) วิทยุ (2) วิหาร (4) เวียดนาม (4) ไวรัล (1) ศัพท์ (1) ศาสนา (36) ศิริราช (5) ศิลปะ (4) ศิลปาชีพ (1) เศรษฐกิจ (3) สงขลา (1) สงคราม (50) สถานีรถไฟ (1) สนามบิน (2) สเปน (1) สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร (2) สมัยเมจิ (1) สยาม (12) สวนสนุก (1) สวิตเซอร์แลนด์ (2) สังคม (36) สำนวน (8) สิ่งประดิษฐ์ (13) สื่อ (3) สุขภาพ (13) สุภาพจิต (5) สุสาน (1) หนังแท้ (4) หนังสือ (31) หนังสือพิมพ์ (1) ห้องเรียน (4) เหมาเจ๋อตง (2) เหรียญ (1) อเมริกา (36) ออสเตรีย (1) อังกฤษ (6) อาชีพ (1) อาหาร (16) อาหารจานโปรด (9) อิตาลี (3) อินเดีย (8) อิสราเอล (3) อียิปต์ (1) อีสาน (1) แอปพลิเคชัน (4) ไอร์แลนด์ (1) cpr (1) deep state (1) democracy (1) Diarymisc (3) facebook (1) handmade (1) leather (1) metaverse (1) nomad (6) Nuclear (1) OPENUP (1) powerbank (1) shopee (1) Social media (2) social views (114) startup (1) UNESCO (4) xiaomi (1)


Miscellaneous | Misc.Today 🌱 . ขับเคลื่อนโดย Blogger.

 
miscthailand